สุดแสนจะอาลัยกับการจากไปขอหน้าเพจ กรณี ธรรมกาย ออกมาคัดค้านสมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ง สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช
อาลัยยิ่งกว่า ถ้าสังฆราชองค์ต่อไปมาจากธรรมกาย
พระมหากษัตริย์ ทรงสถาปนา สมเด็จพระสังฆราชองค์หนึ่ง ในกรณีที่ตำแหน่งสมเด็จพระส
ในกรณีที่สมเด็จพระราชาคณะผ
สมเด็จพระราชาคณะในปัจจุบัน เรียงตามอาวุโสโดยสมณศักดิ์
1. สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์
2. สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (มานิต ถาวโร) วัดสัมพันธวงศาราม พ.ศ. 2544 (ธรรมยุตนิกาย)
3. สมเด็จพระมหามุนีวงศ์ (อัมพร อมฺพโร) วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม พ.ศ. 2552 (ธรรมยุตนิกาย)
4. สมเด็จพระวันรัต (จุนท์ พฺรหฺมคุตฺโต) วัดบวรนิเวศวิหาร พ.ศ. 2552 (ธรรมยุตนิกาย)
5. สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (วีระ ภทฺทจารี) วัดสุทัศน์เทพวราราม พ.ศ. 2553 (มหานิกาย)
6. สมเด็จพระธีรญาณมุนี (สมชาย วรชาโย) วัดเทพศิรินทราวาส พ.ศ. 2553 (ธรรมยุตนิกาย)
7. สมเด็จพระพุทธชินวงศ์ (สมศักดิ์ อุปสโม) วัดพิชยญาติการาม พ.ศ. 2554 (มหานิกาย)
ทางออกเพียงทางเดียว คือ พระบารมีของพระเจ้าอยู่หัวเ
..........
ทาง ด้านนายพุฒิพงศ์ พงศ์เอนกกุล นักศึกษานิติศาสตร์โพสต์ลงในfacebookยืนยันว่า เมื่อพิจารณาจากข้อกฎหมายแล้วสมเด็จฯปากน้ำสถานเดียวเท่านั้นที่จะมีสิทธิใน ตำแหน่งพระสังฆราชองค์ใหม่
บุคคลที่จะถูกเสนอชื่อให้ดำรงตำ แหน่ง "สมเด็จพระสังฆราช" บุคคลนั้นต้องมีอาวุโสสูงสุด "โดยสมณศักดิ์" มิใช่ "โดยพรรษา"
กล่าวคือ นับว่าใครได้ตำแหน่ง "สมเด็จพระราชาคณะ" ก่อนหลังนั่นเอง
สมเด็จวัดปากน้ำ (บวชปี ๒๔๘๘) ได้สมณศักดิ์ "สมเด็จพระราชาคณะ ชั้นสุพรรณบัฏ" เมื่อปี ๒๕๓๘
ส่วนสมเด็จวัดสัมพันธวงศ์ (บวชปี ๒๔๘๐)ได้สมณศักดิ์ "สมเด็จพระราชาคณะ ชั้นสุพรรณบัฏ" เมื่อปี ๒๕๔๔ ครับ
แม้สมเด็จวัดสัมพันธวงศ์ จะมีอายุพรรษาสูงกว่า แต่เมื่อพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ฯ มาตรา ๗ บัญญัติว่า "...ในกรณีที่ตำแหน่งสมเด็จพระสังฆราชว่างลง ให้นายกรัฐมนตรี โดยความเห็นชอบของมหาเถรสมาคมเส นอนามสมเด็จพระราชาคณะผู้มีอาวุ โสสูงสุดโดยสมณศักดิ์ขึ้นทูลเกล้าฯ เพื่อทรงสถาปนา เป็นสมเด็จพระสังฆราช"
กรณีจึงไม่ต้องตีความอื่นใดอีก ว่าบุคคลที่อยู่ในคุณสมบัติจึงม ีบุคคลเดียวคือ สมเด็จฯวัดปากน้ำ สถานเดียว เพราะมีอาวุโสสูงสุดโดยสมณศักดิ์ครับ.
กล่าวคือ นับว่าใครได้ตำแหน่ง "สมเด็จพระราชาคณะ" ก่อนหลังนั่นเอง
สมเด็จวัดปากน้ำ (บวชปี ๒๔๘๘) ได้สมณศักดิ์ "สมเด็จพระราชาคณะ ชั้นสุพรรณบัฏ" เมื่อปี ๒๕๓๘
ส่วนสมเด็จวัดสัมพันธวงศ์ (บวชปี ๒๔๘๐)ได้สมณศักดิ์ "สมเด็จพระราชาคณะ ชั้นสุพรรณบัฏ" เมื่อปี ๒๕๔๔ ครับ
แม้สมเด็จวัดสัมพันธวงศ์ จะมีอายุพรรษาสูงกว่า แต่เมื่อพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ฯ มาตรา ๗ บัญญัติว่า "...ในกรณีที่ตำแหน่งสมเด็จพระสังฆราชว่างลง ให้นายกรัฐมนตรี โดยความเห็นชอบของมหาเถรสมาคมเส
กรณีจึงไม่ต้องตีความอื่นใดอีก ว่าบุคคลที่อยู่ในคุณสมบัติจึงม
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น