แปลไทย:จดหมายส่งถึงข้าหลวงใหญ่ สิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ(UN OHCHR)
https://www.facebook.com/ notes/jarupan-kuldiloke/ letter-to-un-ohchr-concerning- the-fact-of-non-impartiality- and-non-plurality-of-/ 10151525878241370
ดิฉัน สส. จารุพรรณกุลดิลก สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรระบบบัญชี รายชื่อ พรรคเพื่อไทย ทำจดหมายถึงข้าหลวงใหญ่ด้านสิ ทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติชี้ แจงในสองเรื่อง ได้แก่
(1)รายงานฉบับสมบูรณ์ คณะกรรมการอิสระตรวจสอบและค้ นหาความจริงเพื่อการปรองดองแห่ งชาติ(คอป.)
และ (2) สถานภาพของ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ซึ่งดำรงอยู่โดยขัดกับหลั กการปารีส (Paris Principles)
ในประเด็นแรก จากการศึ กษาการทำงานของคณะกรรมการอิ สระตรวจสอบและค้นหาความจริงเพื่ อการปรองดองแห่งชาติ (คอป.) พบว่าการจัดทำรายงานมีพื้ นฐานมาจากข้อมูลที่เขียนโดยฝ่ ายตรงข้ามกับคนเสื้อแดงซึ่งเป็ นคนส่วนใหญ่ของประเทศ เป็นเหตุให้ข้าหลวงใหญ่ด้านสิ ทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติได้รั บข้อมูลเพียงด้านเดียว และตัวคณะกรรมการของคอป. ก็มาจากการเสนอชื่ อของพรรคประชาธิปัตย์ซึ่งเป็ นพรรครัฐบาลในขณะนั้น ตัวกรรมการในอนุ กรรมการตรวจสอบข้อเท็จจริงได้ แสดงความลำเอียงตั้งแต่ต้น อนุกรรมการสองท่านเคยทำงานเป็ นการ์ดให้กับกลุ่มพันธมิ ตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย(พธม. ) ซึ่งเป็นกลุ่มชาตินิยมสุดโต่ง ที่เรียกร้องให้มีการทำรั ฐประหาร
เมื่อปี 2549 ได้แก่ นายเมธา มาสขาว และนายชัยวัฒน์ ตรีวิทยา
โดยอนุกรรมการชุดนี้มีนายสมชาย หอมลออ เป็นประธาน เป็นเรื่องที่ทำให้คนทั้ งประเทศตกใจ เมื่อทราบว่านายสมชายแต่งตั้ งสมาชิกกลุ่มพธม.เข้ ามาทำงานและเป็นผู้จัดทำรายงาน และบุคคลทั้งสองยังมีความสัมพั นธ์ใกล้ชิดกับ พลตรีจำลอง ศรีเมือง แกนนำหลักของพธม.
ถือได้ว่าการปฏิบัติหน้าที่ ของคอป. ขัดต่อหลักกระบวนการอั นควรตามกฎหมายและหลักนิติธรรม เป็นการปฏิบัติหน้าที่ซึ่งไม่ เป็นที่ยอมรับของประชาชนส่ วนใหญ่ ผู้เขียนรายงานของ คอป.จงใจละทิ้งประเด็นสำคัญที่ เป็นเนื้อหาสาระและยังเขี ยนรายงานอย่างขาดความเป็นกลาง ดิฉันขอย้ำว่าคนไทยต้ องการความปรองดอง แต่ที่ผ่านมากระบวนการดังกล่ าวได้ถูกขัดขวางโดยหน่วยงานต่ างๆ ที่เป็นผลพวงจากการรัฐประหาร
เกี่ยวกั บสถานภาพของคณะกรรมการสิทธิมนุ ษยชนแห่งชาติซึ่งขัดกับหลั กการปารีส ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจั กรไทยพ.ศ. 2550 ได้กำหนดให้เลือกผู้ซึ่งมี ความรู้หรือประสบการณ์ด้านการคุ ้มครองสิทธิเสรี ภาพของประชาชนเป็นที่ประจักษ์ และไทยเป็นหนึ่งใน 10 ประเทศแรก ที่ให้การรับรองปฏิญญาสากลว่าด้ วยสิทธิมนุษยชน(Universal Declaration of Human Rights - UDHR) เมื่อวันที่10 ธันวาคม 2491 รวมทั้งยังให้สัตยาบันต่อสนธิสั ญญาระหว่างประเทศที่ว่าด้วยสิ ทธิมนุษยชน (International Bills of Human Rights) ได้แก่ กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิ พลเมืองและสิทธิทางการเมือง (International Covenant on Civil and Political Rights - ICCPR) และกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิ ทธิทางเศรษฐกิจสังคม และวัฒนธรรม (International Covenant on Economic, Social and Cultural Rights - ICESCR)
แต่ที่ผ่านมาสถาบันตุ ลาการในประเทศไทยไม่ให้ความใส่ ใจ ที่จะพิจารณาเนื้ อหาของกฎหมายระหว่างประเทศไม่มี การนำมาตรฐานระหว่างประเทศเหล่ านี้มาใช้ในการตัดสินอรรถคดีต่ างๆ ในขณะที่ระบบกฎหมายและระเบียบวิ ธีพิ จารณาความของระบบกฎหมายไทยยั งไม่ได้สะท้อนมาตรฐานการไต่ สวนคดีอย่างเป็นธรรมซึ่งได้รั บการรับรองจากกติกา ICCPR
หลักการปารีสมีการรับรองตามมติ ที่ประชุมสมัชชาใหญ่แห่ งสหประชาชาติตามมติที่ 48/134 เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2536 โดยในหลักการดังกล่าวกำหนดไว้ว่ า เนื่องจากสถาบันสิทธิมนุษยชนเป็ นสถาบันระดับชาติ จึงต้องเป็นหน่วยงานที่มี ความเป็นอิสระและมีความเป็นพหุ นิยม แต่ในทางตรงกันข้าม บรรดาสมาชิกของคณะกรรมการสิทธิ มนุษยชนแห่งชาติ ล้วนแต่ได้รับการคัดเลือกจากบุ คคลเพียงไม่กี่คน เป็นเหตุให้ขาดความเป็นพหุนิยม บรรดากรรมการกสม. ล้วนแต่มีอุดมการณ์ที่ล้าสมัย หลักเกณฑ์การคัดเลื อกกรรมการกสม. ไม่สอดคล้องกับมติที่ประชุมสมั ชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติตามมติที ่ 48/134 เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2536 และไม่สอดคล้องกับหลักการปารีส ด้วยเหตุดังกล่าวจึงไม่อาจถื อได้ว่ากสม.เป็นสถาบันระดับชาติ ที่ชอบด้วยกฎหมาย
ข้างต้นเป็นเพียงข้อมูลโดยย่อ โดยดิฉันจะจัดส่งเอกสารและหลั กฐานที่เกี่ยวข้องให้กับทางข้ าหลวงใหญ่ด้านสิทธิมนุษยชนแห่ งสหประชาชาติทางจดหมายด่วนอี กครั้งหนึ่ง
ดิฉันหวังว่าข้อมูลเหล่านี้จะช่ วยแก้ไขความเข้าใจผิ ดของประชาคมนานาชาติที่มีต่ อรายงานของ คอป. และกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ และหวังว่าจะช่วยให้ สามารถเอาชนะอุปสรรคและเปลี่ ยนแปลงทัศนคติของคนไทย ที่มีต่อบรรทัดฐานด้านสิทธิมนุ ษยชนระหว่างประเทศ ปัญหาหลายประการในปัจจุบันเกิ ดขึ้นจากการขาดธรรมาภิบาล ขาดความโปร่งใสและตรวจสอบได้ หลายหน่วยงานปฏิบัติหน้าที่ โดยพลการ ไม่คำนึงถึงกระบวนการอั นควรตามกฎหมายเป็นเหตุให้ ประเทศไทยมีสภาพใกล้เคียงกับ“ สงครามกลางเมือง” จึงมีความจำเป็นที่ข้าหลวงใหญ่ ด้านสิทธิมนุษยชนแห่ งสหประชาชาติจะต้องแสดงออกถึ งความไม่ลำเอียงและมีการปฏิบัติ ตามกฎหมายสิทธิมนุษยชนอย่างเข้ มงวด และงดเว้นการเผยแพร่ข้อมูลข่ าวสารและข้อกล่าวหาที่ไม่เป็ นความจริงซึ่งมีแต่จะทำให้ สถานการณ์การเมืองเลวร้ายลง
ดิฉันยังเชื่อมั่นในอุดมการณ์ ของท่านไม่เปลี่ยนแปลง
ด้วยความนับถือ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.จารุพรรณ กุลดิลก
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรพรรคเพื่ อไทย
ดิฉัน สส. จารุพรรณกุลดิลก สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรระบบบัญชี
(1)รายงานฉบับสมบูรณ์
และ (2) สถานภาพของ
ในประเด็นแรก จากการศึ
ถือได้ว่าการปฏิบัติหน้าที่
เกี่ยวกั
แต่ที่ผ่านมาสถาบันตุ
หลักการปารีสมีการรับรองตามมติ
ข้างต้นเป็นเพียงข้อมูลโดยย่อ โดยดิฉันจะจัดส่งเอกสารและหลั
ดิฉันหวังว่าข้อมูลเหล่านี้จะช่
ดิฉันยังเชื่อมั่นในอุดมการณ์
ด้วยความนับถือ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.จารุพรรณ กุลดิลก
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรพรรคเพื่
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น