นี่คือโฉมหน้าของคนเลวที่ยึดอำนาจจากพระบาท สมเด็จพระปกเกล้าทำให้บ้านเมืองถึงตกอยู่ในวังวนของความเลวความโลภจากกลุ่ม คนที่มีอำนาจและหลงอำนาจ
ดาลัด อุบลพงศ์ เอา
อะไรมาวัดว่าคนเหล่านี้เลว.
คุณแค่อ่านประวัติศาสตร์บางเล่มแล้วคุณก็เขามาเขียนกล่าวร้ายว่าเขาเลว.
ควรใช้ธรรมมาใช้วิจารณาด้วยเห็นทำรายการธรรมอยู่มิใช่หรือ
Dr.Francis. B.Sayre,Glad Aventure ได้ถวายความคิดเห็นต่อพระปกเกล้ าว่า. ประเทศไทยนั้นชนชั้นกลางไม่มี. คนไทยที่เป็นชาวนาชาวไร่ก็ไม่สน ในในกิจการสาธารณะ การที่จะตั้งอ งค์นิติบัญญัติขึ่นแล้วเอาองค์อ ำนาจที่แท้จริงมาห่อหุ้มโดยที่ผ ู้มีสิทธิ์เลือกตั้งไม่มีความรู ้พื้นฐานเท่ากับเชื้อเชิญให้เกิ ดความเหลวแหลกคอรัปชั่นและความย ุ่งยากนานประการ อำนาจที่ปราศจาก การควบคุมย่อมเป็นที่แผ่พันธ์ขอ งความเหลวแหลกอัปลักษณ์ทั่งมวลเ หมือนในปัจจุบันที่รีฐบาลกำลังด ำเนินอยู่
ปลื้มใจมากค่ะ ที่วันนี้..ได้มีโอกาสติดตา มขบวนของหน่วยแพทย์เคลื่อนท ี่ พอ.สว.นำโดยท่านนายแพทย์ยุท ธ โพธารามิก ตรวจเยี่ยมพี่น้องคนไทยและพ ูดคุยให้กำลังใจ ให้รู้รักสามัคคีและสำนึกใน พระมหากรุณาธิคุณของพระบาทส มเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด ็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนา ถ ที่ อ.แม่แจ่ม จ.เชียงใหม่
ภูมิใจ มากคะที่ได้มาช่วยคนไทยที่อยู่ห่างไกล ต้องขอบคุณสมเด็จย่าที่ท่านเล็ง้เห็นควาใทุกข์ของประชาชนผู้ยากไร้. ไม่ได้ทำแบบเอาหน้าเหมือนบ้างคนในสังคม
.............
เรื่องเกี่ยวเนื่อง:"การรื้อสร้าง ๒๔๗๕" :คณะราษฎรในฐานะผู้ร้ายทางประวัติศาสตร์
ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช ได้ใช้นิยายเรื่อง"สี่แผ่นดิน"ในการรื้อฟื้นอดีต และเพื่อชี้ให้เห็นถึงความเสื่อมของสังคมหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง
เขา เริ่มเขียนนิยายเรื่องนี้เป็นตอนๆ ลงในหนังสือพิมพ์สยามรัฐของเขาในช่วงปี ๒๔๙๔-๒๔๙๕ นิยายเรื่องนี้ ดำเนินเรื่องผ่านชีวิตของหญิงชนชั้นสูงผู้หนึ่งนามว่า "พลอย" ที่เติบโตขึ้นท่ามกลางความงดงามในช่วงระบอบเก่า เขาให้ภาพชีวิตเจ้านายที่น่าพิสมัย แต่พลันทุกอย่างก็มลายสิ้นเมื่อเกิดการปฏิวัติ ๒๔๗๕
ครอบ ครัวของพลอยที่เคยสงบสุขก็เผชิญกับปัญหา เกิดความสับสนวุ่นวาย ความขัดแย้งในการเมือง เกิดสงคราม เกิดการพลัดพราก ความโศกาอาดูรในนิยายขนาดยาวเล่มนี้สร้างความซาบซึ้งอย่างมากต่อผู้อ่าน และหลายครั้งที่ผู้เขียนใช้ปากของ "พลอย" แสดงความคิดเห็นทางการเมืองแทนผู้เขียนในลักษณะที่ว่า เมื่อเปลี่ยนแปลงการปกครองแล้วทุกอย่างมีแต่เสื่อมลง
ใน ท้ายที่สุด เรื่องปิดฉากลงเมื่อตัวละครเอกตายพร้อมกับการสูญเสียพระมหากษัตริย์ของไทย งานชิ้นนี้ของเขาได้รับการพิมพ์ซ้ำหลายครั้งมาก ตลอดจนถูกนำไปผลิตซ้ำในรูปของละครโทรทัศน์หลายครั้งในการครอบงำความรู้สึก นึกคิดของผู้คนจวบกระทั่งปัจจุบัน
............
การ รื้อสร้าง ๒๔๗๕ จากชาว "น้ำเงินแท้" ของคณะราษฎร ตลอดจนการหมดสิ้นอำนาจของคณะราษฎร มีผลให้กระบวนการบ่อนเซาะความชอบธรรมของการปฏิวัติ ๒๔๗๕ จากชาว "น้ำเงินแท้" ได้วางรากฐานให้กับระบอบการเมืองกลายพันธุ์ในเวลาต่อมา
อย่าง ไรก็ตามกว่าจะมีการตระหนักรู้ถึงกระบวนการรื้อสร้างนั้น อาการหมดสิ้นความหมายก็เข้ารุมเร้าการปฏิวัติ ๒๔๗๕ และคณะราษฎรจนแทบกู้เกียรติและกู้ระบอบไม่ขึ้น
การ รื้อสร้างจากการเมืองเรื่องเล่าเหล่านี้ได้รื้อสร้างความหมายเดิมและสร้าง ความหมายใหม่ในลักษณะกลับหัวกลับหาง อันเป็นรากฐานของความคิดในการร่างรัฐธรรมนูญและความรู้สึกนึกคิดของผู้คนที่ นำไปสู่ระบอบการเมืองกลายพันธุ์
ตลอด จนการปฏิวัติ ๒๔๗๕ ได้สูญเสียสถานะ ความหมาย และความชอบธรรมในความรับรู้และความทรงจำของผู้คนอันนำไปสู่เรื่องเล่าอื่น ที่เป็นอภิมหาอรรถกถาครอบจักรวาลที่ทำให้สรรพสิ่งในระบอบนี้ล้วนมีผู้ครอบ ครองมาก่อน ซึ่งหาใช่โลกของคนสามัญธรรมดาตามระบอบประชาธิปไตยไม่-ณัฐพล ใจจริง (อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม:ราชธรรมนูญ:ฝันจริงของ'ชาวน้ำเงินแท้')
ปลื้มใจมากค่ะ ที่วันนี้..ได้มีโอกาสติดตา
ภูมิใจ มากคะที่ได้มาช่วยคนไทยที่อยู่ห่างไกล ต้องขอบคุณสมเด็จย่าที่ท่านเล็ง้เห็นควาใทุกข์ของประชาชนผู้ยากไร้. ไม่ได้ทำแบบเอาหน้าเหมือนบ้างคนในสังคม
.............
เรื่องเกี่ยวเนื่อง:"การรื้อสร้าง ๒๔๗๕" :คณะราษฎรในฐานะผู้ร้ายทางประวัติศาสตร์
ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช ได้ใช้นิยายเรื่อง"สี่แผ่นดิน"ในการรื้อฟื้นอดีต และเพื่อชี้ให้เห็นถึงความเสื่อมของสังคมหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง
เขา เริ่มเขียนนิยายเรื่องนี้เป็นตอนๆ ลงในหนังสือพิมพ์สยามรัฐของเขาในช่วงปี ๒๔๙๔-๒๔๙๕ นิยายเรื่องนี้ ดำเนินเรื่องผ่านชีวิตของหญิงชนชั้นสูงผู้หนึ่งนามว่า "พลอย" ที่เติบโตขึ้นท่ามกลางความงดงามในช่วงระบอบเก่า เขาให้ภาพชีวิตเจ้านายที่น่าพิสมัย แต่พลันทุกอย่างก็มลายสิ้นเมื่อเกิดการปฏิวัติ ๒๔๗๕
ครอบ ครัวของพลอยที่เคยสงบสุขก็เผชิญกับปัญหา เกิดความสับสนวุ่นวาย ความขัดแย้งในการเมือง เกิดสงคราม เกิดการพลัดพราก ความโศกาอาดูรในนิยายขนาดยาวเล่มนี้สร้างความซาบซึ้งอย่างมากต่อผู้อ่าน และหลายครั้งที่ผู้เขียนใช้ปากของ "พลอย" แสดงความคิดเห็นทางการเมืองแทนผู้เขียนในลักษณะที่ว่า เมื่อเปลี่ยนแปลงการปกครองแล้วทุกอย่างมีแต่เสื่อมลง
ใน ท้ายที่สุด เรื่องปิดฉากลงเมื่อตัวละครเอกตายพร้อมกับการสูญเสียพระมหากษัตริย์ของไทย งานชิ้นนี้ของเขาได้รับการพิมพ์ซ้ำหลายครั้งมาก ตลอดจนถูกนำไปผลิตซ้ำในรูปของละครโทรทัศน์หลายครั้งในการครอบงำความรู้สึก นึกคิดของผู้คนจวบกระทั่งปัจจุบัน
............
การ รื้อสร้าง ๒๔๗๕ จากชาว "น้ำเงินแท้" ของคณะราษฎร ตลอดจนการหมดสิ้นอำนาจของคณะราษฎร มีผลให้กระบวนการบ่อนเซาะความชอบธรรมของการปฏิวัติ ๒๔๗๕ จากชาว "น้ำเงินแท้" ได้วางรากฐานให้กับระบอบการเมืองกลายพันธุ์ในเวลาต่อมา
อย่าง ไรก็ตามกว่าจะมีการตระหนักรู้ถึงกระบวนการรื้อสร้างนั้น อาการหมดสิ้นความหมายก็เข้ารุมเร้าการปฏิวัติ ๒๔๗๕ และคณะราษฎรจนแทบกู้เกียรติและกู้ระบอบไม่ขึ้น
การ รื้อสร้างจากการเมืองเรื่องเล่าเหล่านี้ได้รื้อสร้างความหมายเดิมและสร้าง ความหมายใหม่ในลักษณะกลับหัวกลับหาง อันเป็นรากฐานของความคิดในการร่างรัฐธรรมนูญและความรู้สึกนึกคิดของผู้คนที่ นำไปสู่ระบอบการเมืองกลายพันธุ์
ตลอด จนการปฏิวัติ ๒๔๗๕ ได้สูญเสียสถานะ ความหมาย และความชอบธรรมในความรับรู้และความทรงจำของผู้คนอันนำไปสู่เรื่องเล่าอื่น ที่เป็นอภิมหาอรรถกถาครอบจักรวาลที่ทำให้สรรพสิ่งในระบอบนี้ล้วนมีผู้ครอบ ครองมาก่อน ซึ่งหาใช่โลกของคนสามัญธรรมดาตามระบอบประชาธิปไตยไม่-ณัฐพล ใจจริง (อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม:ราชธรรมนูญ:ฝันจริงของ'ชาวน้ำเงินแท้')
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น