อดีตอธิการบดี มธ.ชี้ ประวัติศาสตร์ประชาธิปไตยไทย 81 ปี มี กม.นิรโทษกรรม 22 ฉบับ เฉลี่ยสามปีครึ่งมีกม.นิ รโทษกรรม 1 ฉบับ ซึ่งพบว่า 72.7 % นิรโทษกรรมให้ชนชั้นนำ
ศ.ดร.ชาญวิทย์ เกษตรศิริ อดีตอธิการบดี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กล่าวในงาน "108 เหตุผลทำไมต้องนิรโทษกรรมนั กการเมือง" จัดโดย ศูนย์ข้อมูลประชาชนผู้ได้รั บผลกระทบจากการสลายการชุมนุม เมษา-พฤษภา 2553 (ศปช.)
...............
ประธานาธิบดีเต็งเส่ง กล่าวระหว่างการปราศรัยที่ Chatham House ในกรุงลอนดอน ให้สัญญาด้วยว่า จะไม่มีนักโทษการเมืองหรือผู้ที่ถูกคุมขังเนื่องจากมีความคิ ดเห็นแตกต่างจากรัฐบาลเหลืออยู่ ในพม่าภายในสิ้นปีนี้
ก่อนหน้านั้นหนึ่งวัน เว็บไซต์ของประธานาธิดีพม่าระบุ ว่า ประธานาธิบดีเต็งเส่งได้สั่งยุ บเลิกกองกำลังความมั่นคงที่ถู กกล่าวหาว่าละเมิดสิทธิโรฮิ งยาไปแล้ว และว่า ความขัดแย้งต่างๆ ที่ยังมีอยู่ในประเทศขณะนี้ ล้วนแต่มีลักษณะที่มาจากความไม่ พอใจของคนต่างเชื้อชาติ ในประเทศทั้งสิ้น
แน่นอนว่าเราอาจไม่เชื่อทั้ งหมดของข่าวสารที่มาจากรั ฐบาลพม่า แต่นับเป็นนิมิตหมายที่ดี สำหรับประชาชนชาวพม่าที่เผชิญกั บการละเมิดสิทธิมนุษยชนอย่างรุ นแรงมากว่าเสี้ยวศตวรรษ นับตั้งแต่เหตุการณ์ 8/8/88 อนึ่ง เราทั้งหลายก็ทราบดีกว่า กัมพูชาเอง พระมหากษัตริย์ก็พระราชทานอภั ยโทษให้แก่ผู้นำฝ่ายค้าน สม รังสี ทั้งนี้ โดยข้อเสนอของนายกรัฐมนตรีฮุ นเซ็น ซึ่งนับได้ว่าภูมิภาคอาเซั ยนของเรากำลังมีความเปลี่ ยนแปลงไปในทางที่เป็นประชาธิ ปไตยมากขึ้น
แต่สำหรับสยามประเทศไทย ในพ.ศ. 2556 เรากลับต้องมาพูดเรื่อง "108 เหตุผล ทำไมต้องนิรโทษกรรมนักการเมือง" นับเป็นความน่าเศร้าอย่างยิ่ง เพราะแท้ที่จริงแล้ว เราไม่ควรจะมีเหตุผลใดๆ ที่จะมี "นักโทษการเมือง" ที่เกิดจากการคิด พูด อ่าน เขียน ที่มีความเห็นไม่ตรงกับอุ ดมการณ์รัฐแล้วในโลกปัจจุบัน ดังเช่นที่รัฐบาลพม่ากำลังดำเนิ นการแก้ไขอยู่ในขณะนี้
ในฐานะนักประวัติศาสตร์ ผมได้พบข้อมูลระหว่าง พ.ศ. 2475 จนกระทั่งถึงปัจจุบัน พ.ศ. 2556 เป็นเวลา 81 ปีว่า เรามีการออกกฎหมายนิ รโทษกรรมมาแล้ว 22 ฉบับ โดยแบ่งเป็นพ.ร.ก. 4 ฉบับ พ.ร.บ. 7 ฉบับ และรธน. 1 ฉบับ
สาระสำคัญของกฎหมายนิรโทษกรรมทั ้ง 22 ฉบับ คือ การนิรโทษกรรมให้ความผิดโดยแบ่ งออกเป็น
งของชนชั้นนำ คิดเป็นร้อยละ 72.7 ขณะที่การนิรโทษกรรมความผิ ดจากการชุมนุมทางการเมือง 3 ฉบับในเหตุการณ์สำคัญ คือ
รโทษกรรมความผิดจากการชุมนุ มทางการเมืองทั้ง 3 ฉบับ กลายเป็นว่าเป็นการนิ รโทษกรรมเจ้าหน้าที่ไปพร้อมกั นด้วย
กฎหมายนิรโทษกรรมกลายเป็น "ใบอนุญาตฆ่าประชาชน" ผู้ซึ่งใช้สิทธิในทางการเมื องอย่างสุจริตไปโดยปริยาย
หลังจากรัฐประหาร 19 กันยายน 2549 ตามมาด้วยความขัดแย้งทางการเมื องที่ยืดเยื้อมาเกือบ 7 ปี ที่มีการล้ มตายของประชาชนกลางเมื องหลวงและหัวเมืองต่างๆในเหตุ การณ์เมษา-พฤษภา 2553 จนกลายมาเป็นประวัติศาสตร์ บาดแผลที่ยากจะสมานได้ในเร็ววัน แต่ผลพวงจากเหตุการณ์ดังกล่าว ยังปรากฏนักโทษการเมืองที่ถู กจองจำมาเป็นเวลานานนับปีอยู่ หลายร้อยคน
นี่เป้นเหตุผลที่เรามารวมตัวกั นที่นี้ เพื่อบอกว่า นักโทษการเมือง จะต้องหมดไปจากประเทศไทยด้ วยการออกกฎหมายนิรโทษกรรม
ขณะเดียวกัน การนิรโทษกรรมในปี 2556 ต้องไม่ใช่การนิรโทษกรรมเช่ นใน
เหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 เหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 เหตุการณ์
พฤษภาคม 2535 ที่เป็นการนิรโทษกรรมแบบ "เหมาเข่ง"
ที่ผู้ก่อความรุนแรงต่อผู้ชุมนุ มทางการเมืองได้รับการนิ รโทษกรรมไปด้วย เพราะประวัติศาสตร์บอกเราชั ดเจนว่า ตราบใดที่ผู้กระทำผิดไม่ถู กลงโทษ ก็จะมีความุรนแรงตามมา
อย่าให้ประวัติศาสตร์สอนเราว่า เราไม่เคยเรียนรู้อะไรจากประวั ติศาตร์ต่อไปอีกเลย
หมายเหตุ: ขอขอบคุณธนาพล อิ๋วสกุล ที่ช่วยเหลือในการตระเตรียมข้ อคิดนี้
ศ.ดร.ชาญวิทย์ เกษตรศิริ อดีตอธิการบดี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กล่าวในงาน "108 เหตุผลทำไมต้องนิรโทษกรรมนั
...............
ประธานาธิบดีเต็งเส่ง กล่าวระหว่างการปราศรัยที่ Chatham House ในกรุงลอนดอน ให้สัญญาด้วยว่า จะไม่มีนักโทษการเมืองหรือผู้ที่ถูกคุมขังเนื่องจากมีความคิ
ก่อนหน้านั้นหนึ่งวัน เว็บไซต์ของประธานาธิดีพม่าระบุ
แน่นอนว่าเราอาจไม่เชื่อทั้
แต่สำหรับสยามประเทศไทย ในพ.ศ. 2556 เรากลับต้องมาพูดเรื่อง "108 เหตุผล ทำไมต้องนิรโทษกรรมนักการเมือง" นับเป็นความน่าเศร้าอย่างยิ่ง เพราะแท้ที่จริงแล้ว เราไม่ควรจะมีเหตุผลใดๆ ที่จะมี "นักโทษการเมือง" ที่เกิดจากการคิด พูด อ่าน เขียน ที่มีความเห็นไม่ตรงกับอุ
ในฐานะนักประวัติศาสตร์ ผมได้พบข้อมูลระหว่าง พ.ศ. 2475 จนกระทั่งถึงปัจจุบัน พ.ศ. 2556 เป็นเวลา 81 ปีว่า เรามีการออกกฎหมายนิ
สาระสำคัญของกฎหมายนิรโทษกรรมทั
- ความผิดฐานเปลี่ยนแปลงการปกครอง 1 ฉบับ- ความผิดฐานก่อกบฎ 6 ฉบับ
- ความผิดจากการก่อรัฐประหาร 10 ฉบับ
- ความผิดจากการต่อต้ านสงครามของญี่ปุ่น 1 ฉบับ
- ความผิดจากการชุมนุมทางการเมือง 3 ฉบับ
- ความผิดจากการกระทำอันเป็นคอมมิ วนิสต์ 1 ฉบับ
ถ้านับกันตามเวลาแล้ว ในระยะเวลา 81 ปี เฉลี่ยแล้ว 3 ปีครึ่ง
เรามีกฎหมายนิรโทษกรรม 1 ฉบับ เหตุที่มีมากเช่นนั้น
เพราะเป็นการรวมการรัฐประหาร 10 ฉบับ และความผิดฐานกบฏ 6 ฉบับ
ซึ่งส่วนใหญ่เป็นความขัดแย้
*เหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 : พ.ร.บ.นิรโทษกรรมแก่นักเรียน นิสิต นักศึกษา และประชาชน ซึ่งกระทำความผิดเกี่ยวเนื่องกั บการเดินขบวนเมื่อวันที่ 13 ตุลาคม 2516
*เหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 : พ.ร.บ.นิรโทษกรรมแก่ผู้ซึ่ งกระทำความผิดเนื่องในการชุมนุ มในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ระหว่ างวันที่ 4 ถึงวันที่ 6ตุลาคม 2519
*เหตุการณ์พฤษภาคม 2535 พ.ร.ก.นิรโทษกรรมแก่ผู้ กระทำความผิดเนื่องในการชุมนุ มระหว่างวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2535 ถึงวันที่ 21พฤษภาคม 2535
ที่กลายเป็นตลกร้ายทางการเมือง คือ กฎหมายที่มุ่งนิกฎหมายนิรโทษกรรมกลายเป็น "ใบอนุญาตฆ่าประชาชน" ผู้ซึ่งใช้สิทธิในทางการเมื
หลังจากรัฐประหาร 19 กันยายน 2549 ตามมาด้วยความขัดแย้งทางการเมื
นี่เป้นเหตุผลที่เรามารวมตัวกั
ขณะเดียวกัน การนิรโทษกรรมในปี 2556 ต้องไม่ใช่การนิรโทษกรรมเช่
อย่าให้ประวัติศาสตร์สอนเราว่า เราไม่เคยเรียนรู้อะไรจากประวั
หมายเหตุ: ขอขอบคุณธนาพล อิ๋วสกุล ที่ช่วยเหลือในการตระเตรียมข้
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น