3 กุมภาพันธ์ 2556
ที่มา Tone Tipayanon
การแปรอักษรที่ต้องมีการตระ
(จากบันทึกของ วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์)
ปี พ.ศ.๒๕๒๒ เป็นปีแรกที่ผมเข้าเป็นนักศ
เวลานั้นไม่มีใีครกล้าเอ่ยถึง ปรีดี พนมยงค์ ซึ่งขณะนั้นลี้ภัยอยู่ในประ เทศฝรั่งเศส ชื่อนี้เป็นสิ่งต้องห้ามสำหรับสังคมไทยมานานกว่า ๓๐ ปีแล้วตั้งแต่ท่านลี้ภัยการ เมืองภายหลังรัฐประหารปี ๒๔๙๐ จะมีข่าวสารเรื่องราวของท่า นในสังคมก็เพียงช่วงสั้นๆ ภายหลังเหตุการณ์ ๑๔ ตุลาคม ๒๕๑๖ แต่พอหลังเหตุการณ์ ๖ ตุลาคม ๒๕๑๙ เรื่องราวของท่านกลับเงียบห าย แม้ในมหาวิทยาลัยที่ท่านเป็ นผู้ก่อตั้งก็ยังไม่มีใครพู ดถึงในที่แจ้ง หนังสือเกี่ยวกับปรีดีตามชั ้นหนังสือในห้องสมุดมีแทบนั บเล่มได้
ปรีดี พนมยงค์ ในเวลานั้น คนในสังคมรู้เพียงว่าเขาคือ
ผมได้ไปปรึกษาคุณอดุลย์ โฆษะกิจจาเลิศ ประธานชุมนุมเชียร์ซึ่งเป็น
คุณอดุลย์เห็นด้วย และบอกว่าพวกเราอยู่ปี ๔ กันแล้ว น่าจะทำอะไรเป็นการตอบแทนผู
เราตกลงกันว่าการแปรอักษรนี
เวลานั้นพวกเราวางแผนกันว่าหากแปรอักษรไปแล้วเกิดมีตำร วจหรือสันติบาลมาถามหาก็นัด แนะกันว่าจะหนีไปทางไหน และจะไม่ซัดทอดกัน หากมีการจับก็ให้มีคนโดนจับ น้อยที่สุด
พอถึงวันที่ ๒๙ มกราคม พ.ศ.๒๕๒๖ งานฟุตบอลประเพณีจุฬาฯ-ธรรม
เมื่อโฆษกสนามพูดบทกลอนซ้ำอีกครั้ง ในสนามเงียบก่อนที่เสียงปรบ มือจะดังลั่น ศิษย์เก่าธรรมศาสตร์ ศิษย์เก่า ต.มธก. หลายคนยืนขึ้น น้ำตาไหลด้วยความดีใจเพราะเ ป็นครั้งแรกในรอบ ๓๐ กว่าปีที่มีการพูดถึงอาจารย ์ปรีดีชัดเจนในที่สาธารณะ ขณะที่นักศึกษาบนอัฒจันทร์โ ห่ร้องด้วยความยินดีที่ตนใน ฐานะลูกแม่โดมได้ทำอะไรบางอ ย่างเพื่อผู้ก่อตั้งมหาวิทย าลัยแห่งนี้
พอแปรอักษรรูปนี้เสร็จ พวกเราที่อยู่ด้านล่างทำ หน้าที่ควบคุมสแตนด์เชียร์ต
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น